บทความ

รูปภาพ
ไมโครโฟนไร้สาย ไมค์ลอย Wireless Microphone ชุดประชุม , ไมค์ประชุม , ไมโครโฟนไร้สาย ไมค์ลอย Wireless Microphone ถ้าพูดถึงไมโครโฟนทุกๆคนคงรู้จักกันดีอยู่แล้วน้อยคนมากๆที่ไม่มีใครเคยจับไมโครโฟนมาก่อนเลย ในเรื่องของระบบเสียงไมโครโฟนเป็นอุปกรณ์ส่วนหนึ่ง ที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งที่จะให้คุณภาพของเสียงที่ได้ออกมา มีคุณภาพที่ดี ชัดเจน ถ้าเริ่มต้นอุปกรณ์ไมโครโฟนรับสัญญาณเสียงเข้ามาตั้งแต่แรกไม่ดีพอ สัญญาณเสียงเมื่อผ่านระบบออกไปก็จะไม่ดีพอเท่าที่ควรเช่นกัน ดังนั้นเราควรให้ความสำคัญกับไมโครโฟนรวมถึงการเลือกรูปแบบการรับสัญญาณของไมโครโฟน (Pattern Microphone) ด้วยเช่นกัน เรามาทำความรู้จักไมโครโฟนกันครับ ไมโครโฟน คืออะไร ก็คืออุปกรณ์ที่แปลงพลังงานเสียงที่รับเข้ามาให้กลายเป็นพลังงานไฟฟ้าหรือที่เรียกว่า Transducer ส่วนประกอบหลักต่างๆของไมโครโฟน ตัวไมโครโฟน (Body Microphone) ไดอะแฟรม (Diaphragm) ว็อยซ์คอยล์ (Voice Coil) ตัวป้องกันฝุ่นและลม (Windshield) ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ไมโครโฟน (Microphone) ได้มีการพัฒนาและออกแบบหลักการทำงานด้วยเทคโนโลยีต่างๆ ให้เหมาะสมกับการใช้งานปร

ระบบเสียงในอาคาร

รูปภาพ
รู้จักกับระบบเสียงประกาศ (เสียงตามสาย) เสียงตามสาย , ทำความรู้จักกับระบบเสียงประกาศ ระบบเสียงประกาศ หรือ ระบบกระจายเสียง ที่นิยมเรียกกันว่า PA System หรือ เครื่องเสียงกลางแจ้ง (ย่อมาจาก Public Address System ) นั้นสำคัญอย่างไร หลายๆท่านคงรู้จักและคุ้นเคยกับระบบเสียงประกาศกันอยู่บ้าง เพราะเป็นสิ่งที่ถือได้ว่าอยู่ใกล้ตัวเรา เพราะไม่ว่าเราไปเดินที่ไหนในห้าง โรงพยาบาล โรงแรมหรือแม้แต่สถานที่สาธารณะต่างๆ เรามันจะได้ยินเสียงประกาศส่งข้อความต่างๆผ่านระบบเสียงให้เราได้ยินกัน ถามว่าไม่มีได้หรือไม่? ตอบได้เลยว่าจะมีหรือไม่มีก็ได้แต่ด้วยเหตุผลและปัจจัยต่างๆมากมายที่ทำให้เราตัดสินใจได้ว่าเราควรจะต้องติดตั้งระบบเสียงประกาศหรือไม่ อันดับแรกเลยคือ ขนาดของพื้นที่ มีผลต่อการรับรู้ข่าวสาร ถ้าเป็นพื้นที่ขนาดเล็กเช่นห้องทำงานภายในออฟฟิตเล็กๆที่มีห้องแค่ไม่กี่ห้องและจำนวนชั้นที่ไม่มาก เราก็ไม่จำเป็นต้องมีระบบเสียงประกาศก็ได้เพราะตะโกนเอาก็ได้ยิน แต่ถ้าเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ที่มีโซนของพื้นที่แยกเป็นสัดส่วนแบบนี้ต้องมีระบบเสียงประกาศแน่นอนเพราะเราไม่สามารถสื่อสารได้ได้ทั่วถึง เราเลยต้อง
รูปภาพ
ระบบเสียงตามสาย ระบบกระจายเสียงตามสายสาธารณะ in ระบบเสียงตามสายแบบมาตรฐานทั่วๆไป ระบบเสียงตามสาย ระบบกระจายเสียงตามสายสาธารณะ (Public address System) ระบบการกระจายเสียงไปตามสาย คือการส่งสัญญาณเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงต้นทาง อาจจะเป็นไมโครโฟน หรือเครื่องเล่นเสียง CD/VCD/DVDMP3 หรือจากเครื่องรับวิทยุ หรือแหล่งอื่นๆ แล้วส่งไปที่เครื่องขยายเสียงเพื่อทำการขยายให้ได้กำลังสูงๆ เพื่อจะได้ส่งไปตามสายในระยะทางที่ไกลๆ โดย ที่ปลายทางจะมีลำโพงต่ออยู่ ระบบเสียงตามสาย อาจถูกเรียกได้หลายแบบเช่น ระบบเสียงตามสาย เสียงตามสาย ระบบประกาศ ระบบกรจายเสียงตามสาย ระบบกระจายเสียงสาธารณะ เป็นต้น ซึ่งล้วนแต่มีความหมายในทางเดียวกัน  อาจจะมีวัตถุประสงค์และรูบแบบการใช้งานที่แตกต่างกันบ้าง ไม่สำคัญ แต่พื้นฐานหลักการจะมีองค์ประกอบเหมือนที่เขียนมาในตอนต้น การใช้งานระบบเสียงตามสายนิยมใช้ในระยะที่ไม่ไกลมาก โดยปกติจะใช้ภายในอาคาร ระหว่างอาคาร หรือในพื้นที่หน่วยงาน โดยเฉลี่ยจะไม่เกิน 2 กิโลเมตรเนื่องจาก ยิ่งระยะทางไกลจะทำให้เกิดความต้านทานในสาย และทำให้สัญญาณเสียงลดคุณภาหรือดั
รูปภาพ
ระบบเสียงสาธารณะ ระบบกระจายเสียงไร้สายทางไกลอัตโนมัติ ระบบกระจายเสียงไร้สาย ( Wireless Public Address System, Wireless PA Paging System) เป็นการประยุกต์การส่งกระจายเสียงผ่านเทคโนโลยีการสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุ โดยไม่ต้องส่งสัญญาณผ่านสายแบบระบบเสียงตามสายทั่วๆไป หรือสามารถนำทั้ง 2 แบบมาประยุกต์ใช้งานร่วมกันได้  ซึ่งปัจจุบันเป็นที่นิยมใช้งานเนื่องจากมีความสะดวกในการติดตั้ง เพราะไม่ต้องเดินสายให้ยุ่งยาก  แต่ทั้งนี้ในการเลือกใช้หรือการออกแบบระบบควรจะให้ผู้ชำนาญงานหรือเจ้าหน้าที่ของเราเป็นผู้แนะนำให้คำปรึกษา รูปแบบการทำงานตัวอย่างระบบเสียงไร้สาย
รูปภาพ
ระบบโครงจานดาวเทียม ความแตกต่างระหว่าง C-Band กับ KU-Band สัญญาณที่ส่งลงมา จากดาวเทียมที่สามารถรับในประเทศไทย ปัจจุบัน จะมีอยู่ 2 ระบบ คือ ระบบ C-Band และ KU-Band ระบบ C-Band จะส่งคลื่นความถี่กลับมายังโลกในช่วงความถี่ 3.4-4.2 GHz แบบนี้จะมีฟุตปริ้นกว้างสามารถส่งสัญญาณครอบคลุมพื้นที่ได้หลายประเทศ ซึ่งสัญญาณดาวเทียมที่รับได้ จากต่างประเทศ ส่วนใหญ่จะเป็นระบบนี้ แต่เนื่องจากสัญญาณครอบคลุมพื้นที่กว้าง ความเข้มสัญญาณจะต่ำ จึงต้องใช้จานขนาด 4-10 ฟุต รับสัญญาณ ภาพจึงจะชัด (รายการส่วนใหญ่เป็นฟรีทีวีของแต่ละประเทศ และส่วนมากสามารถรับชมได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายรายเดือน ) ระบบ KU-Band จะส่งคลื่นความถี่กลับมายังโลกในช่วงความถี่ 10-12 GHz สัญญาณที่ส่งครอบคลุมพื้นที่ได้น้อย ใช้กับการส่งสัญญาณภายในประเทศ ส่วนใหญ่ใช้กับระบบการให้บริการ เคเบิ้ลทีวี ภายในประเทศ ความเข้มสัญญาณจะสูง จึงใช้จานขนาดเล็ก 35-75 ซม. เช่น UBC (การรับทีวีผ่านดาวเทียมในระบบ KU-Band ส่วนใหญ่ต้องสมัครสมาชิกจึงจะรับชมได้) ความเข้มของสัญญาณในการส่ง C-Band จะเบากว่า Ku-Band เป็นเหตุผลในทางเทคนิค ตามข้อที่ 2 พื้นที่ครอบคลุมของสัญ